History

Home History

จาก “กาติ้บ” สู่ “อารีย์” (2)

บ้านกาติ้บ (ปี 2501) ขอบคุณภาพประกอบจากหนังสือ วานนี้ที่สุขุมวิท เขียนโดย ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทราศุ

เพราะช่วงนี้ออกไปไหนไม่ได้ เราจึงโทรไปหา ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทราศุ หลังจากอ่าน “วานนี้ที่สุขุมวิท” จบเล่มไปหมาดๆ

ซอยสีฟ้า (พหลโยธิน 9)

0
ซอยสีฟ้ากับน้ำท่วมครั้งใญ่ ภาพประกอบ : ครอบครัวนุตสถิตย์

เดินทะลุซอยอารี 4 ฝั่งเหนือไปเรื่อยๆ ผ่าน GUMP’s Ari ครัวตุ่มอิงน้ำ ทะลุซอยชำนาญอักษร เราจะมาถึงซอยพหลโยธิน 9 หรือที่เรียกกันตั้งแต่เก่าก่อนว่า “ซอยสีฟ้า” 

ยินดีที่ได้รู้จักเราคือ AriTimes

0

หลายต่อหลายครั้ง ที่มนุษย์ปล่อยให้เรื่องราวดีๆ เลือนหายไปก่อนที่จะมีการค้นคว้า จัดเก็บ และเรียบเรียงออกมาเป็นประวัติศาสตร์  

ซอยอารีก็เช่นกัน…  

ร้อยทั้งร้อย เรามั่นใจว่าตอนนี้ถ้าหากพูดถึง “อารี” ใครๆ ก็คงนึกถึงว่าเป็นย่านคาเฟ่ แหล่งรวมความชิคความคูล ใช่แล้วครับ มันเป็นเรื่องดีมากๆ ที่ย่านที่เราอยู่อาศัยกำลังเติบโตและปรับตัวเข้าหาสิ่งใหม่ตลอดเวลา แต่ถ้าลองหยุดคิดและมองการ เติบโตนี้ชัดๆ ให้ถนัดตา

“เรานึกถึงอดีตของย่านที่เราอยู่อาศัยหรือใช้ชีวิตน้อยไปหรือเปล่า?”  

นี่คือคำถามและจุดเริ่มต้นของ AriTimes ทุกๆ สัปดาห์ต่อจากนี้เราจะทยอยเอาภาพอดีตของซอยอารีกลับมายังปัจจุบันอีกครั้ง ไม่ว่าจะเป็นภาพถ่าย และเรื่องเล่าของคนในย่าน แน่นอนว่าทุกท่านสามารถส่งเรื่องราว และความทรงจำที่มีต่อซอยอารีมาให้กับเรา และร่วมเป็นนักเล่าเรื่องรับเชิญบนแพลตฟอร์มของเรา

ซอยเสนาร่วม (พหลโยธิน 11)

1

ถนนพหลโยธินในอดีตขนาบข้างด้วยคูน้ำใสแจ๋วที่ในทุกๆ ปีหลังจากฤดูน้ำ คนเก่าแก่ของย่านจะจับกุ้งในคูมาปรุงเป็นอาหารเย็นกัน AriAround ได้พูดคุย (โทรศัพท์) กับ คุณเปิ้ล ถึงบรรยากาศเก่าๆ ของซอยเสนาร่วม (พหลโยธิน 11) 

ซอยสายลม (พหลโยธิน 8)

0

“ไปพหลโยธิน 8 ครับ”

“อยู่ช่วงไหนนะน้อง เลยไปทางสะพานควายหรือเปล่า?”

“ซอยสายลมนะครับพี่”

“โอเค ทำไมไม่บอกแต่แรกล่ะน้อง”

ผมเคยมี dialogue ประมาณนี้บ่อยทีเดียวเวลาที่โบกแท็กซี่กลับบ้าน จนมารู้ทีหลังว่าที่แทกซี่รู้จักซอยนี้ในชื่อ “สายลม” มากกว่าก็เพราะว่าสมัยก่อนมันมี “ร้านลาบ” เจ้าดัง (ในหมู่คนขับแท็กซี่) เปิดอยู่หน้าปากซอย!

อาคาร 5 โรงพยาบาลประสานมิตร

0

ย้อนไป 60 ปีก่อน ตอนที่ชาวอารียังมีเพียงแค่หลักร้อย และฝั่งตรงข้ามซอยอารี (ฝั่ง la villa) ยังเป็นทุ่งนาและแปลงผักสมาคมปราบวัณโรคแห่งประเทศไทย คือแลนด์มาร์คสำคัญของย่านนี้

Popular Posts

My Favorites

บ้านกาติ้บ (ปี 2501) ขอบคุณภาพประกอบจากหนังสือ วานนี้ที่สุขุมวิท เขียนโดย ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทราศุ

จาก “กาติ้บ” สู่ “อารีย์” (2)

0
เพราะช่วงนี้ออกไปไหนไม่ได้ เราจึงโทรไปหา ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทราศุ หลังจากอ่าน “วานนี้ที่สุขุมวิท” จบเล่มไปหมาดๆ “วานนี้ที่สุขุมวิท” เป็นหนังสือที่อ่านสนุกทีเดียว และทำให้คนรุ่นใหม่อย่างเราๆ เห็นภาพกรุงเทพฯ ในอดีต ชัดเจนขึ้นมาก เห็นวิถีชีวิตของวัยรุ่นสมัยก่อนตอนปิดเทอมที่จะ “ทัวร์บ้านเพื่อน” มากกว่าออกไปเที่ยวในเมือง ก็คงเพราะในเมืองมันยังไม่ได้มีอะไรให้เที่ยวเหมือนทุกวันนี้ อาจารย์ธงทอง เกิดเมื่อปี 2498 และมาพักอาศัยอยู่ที่ “บ้านกาติ๊บ” บริวเวณซอยอารีย์ในปัจจุบัน ระหว่างปี 2501...